Duuzer Trojan: A New Backdoor Targeting South Korean Organizations

นักวิจัยด้านความปลอดภัยจาก Symantec ค้นพบ Trojan สายพันธุ์ใหม่ที่ทำให้แฮกเกอร์สามารถรีโมทควบคุมเครื่องที่ติด Trojan นี้ได้อย่างสมบูรณ์. นักวิจัยด้านความปลอดภัยตั้งชื่อ Trojan นี้ว่า Duuzer มีเป้าหมายเป็นองค์กรต่างๆ ในประเทศเกาหลีใต้
Duuzer ถูกออกแบบมาเพื่อระบบที่มีสถาปัตยกรรมแบบทั้ง 32bit และ 64bit ที่ทำงานอยู่บน Windows 7, Windows Vista และ Windows XP. ทั้งนี้เมื่อ Duuzer ติดที่เครื่องเหยื่อแล้วจะสามารถควบคุมเครื่องได้ รวมไปถึง สามารถเก็บข้อมูลของระบบและข้อมูลของไดร์ฟต่างๆ, สร้าง process และปิด process,
เข้าถึง แก้ไขและลบไฟล์ต่างๆ, อัพโหลดและดาวน์โหลดไฟล์ต่างๆ, เปลี่ยนเวลาในการแก้ไขไฟล์, สั่งรันคำสั่งที่เป็นอันตราย, ขโมยข้อมูลต่างๆ จากในเครื่อง รวมไปถึงเก็บข้อมูลต่างๆของระบบปฏิบัติการที่เหยื่อใช้ได้ด้วย

อย่างไรก็ตาม Duuzer มีการตรวจสอบก่อนจะทำงานว่า เครื่องที่รันสรุปย่อ นักวิจัยด้านความปลอดภัยจาก Symantec ค้นพบ Trojan สายพันธุ์ใหม่ที่ทำให้แฮกเกอร์สามารถรีโมทควบคุมเครื่องที่ติด Trojan นี้ได้อย่างสมบูรณ์. นักวิจัยด้านความปลอดภัยตั้งชื่อ Trojan นี้ว่า Duuzer มีเป้าหมายเป็นองค์กรต่างๆ ในประเทศเกาหลีใต้
Duuzer ถูกออกแบบมาเพื่อระบบที่มีสถาปัตยกรรมแบบทั้ง 32bit และ 64bit ที่ทำงานอยู่บน Windows 7, Windows Vista และ Windows XP. ทั้งนี้เมื่อ Duuzer ติดที่เครื่องเหยื่อแล้วจะสามารถควบคุมเครื่องได้ รวมไปถึง สามารถเก็บข้อมูลของระบบและข้อมูลของไดร์ฟต่างๆ, สร้าง process และปิด process,
เข้าถึง แก้ไขและลบไฟล์ต่างๆ, อัพโหลดและดาวน์โหลดไฟล์ต่างๆ, เปลี่ยนเวลาในการแก้ไขไฟล์, สั่งรันคำสั่งที่เป็นอันตราย, ขโมยข้อมูลต่างๆ จากในเครื่อง รวมไปถึงเก็บข้อมูลต่างๆของระบบปฏิบัติการที่เหยื่อใช้ได้ด้วย

อย่างไรก็ตาม Duuzer มีการตรวจสอบก่อนจะทำงานว่า เครื่องที่รันอยู่นั้นอยู่บน Virtual Machine เช่น VMWare หรือ VirtualBox หรือไม่ ถ้ารันอยู่บนโปรแกรมประเภท VM จะไม่ทำงานใดๆ ทำให้การวิเคราะห์นั้นทำได้ยากยิ่งขึ้น

นอกจากนี้ Duuzer ยังถูกตั้งค่าให้ทำงานทุกครั้งที่เปิดเครื่อง และแพร่กระจายตัวเองไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆได้อีกด้วย Symantec แนะนำอีกว่า วิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันคอมพิวเตอร์จาก Trojan คือ เปลี่ยนชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน, อย่าให้รหัสผ่านที่ง่ายต่อการคาดเดา, อัพเดทระบบปฏิบัติการหรือซอฟต์แวร์ต่างๆ อย่างสม่ำเสมอให้เป็นเวอร์ชั่นล่าสุด รวมไปถึงการไม่เปิดไฟล์ที่ต้องสงสัยจากไฟล์แนบ หรือคลิกลิงค์ที่น่าสงสัยในอีเมล์

ที่มา : Symantec

Trojan attached in fake emails regarding license key from Adobe

จากข่าวรายงานว่าผู้สร้างมัลแวร์ได้ปล่อยโทรจัน โดยแนบไปกับอีเมลที่แจ้งข่าวดีให้ผู้รับดาวน์โหลดซอฟต์แวร์ Adobe ฟรี หรือแจก License Key ฟรี ในการแพร่กระจายโทรจันครั้งนี้ ใช้เทคนิคที่เรียกว่า Social Engineering เป็นตัวหลอกให้เหยื่อสนใจ และตอบสนองโดยการเปิดไฟล์แนบของอีเมลโดยไม่ทันระวัง เทคนิคที่ใช้ในครั้งนี้คือ ส่งอีเมลหลอกด้วยหัวข้อดังนี้

Download your adobe software
Download your license key
Thank you for your order
Your order is processed

มีการใช้อีเมลที่คล้ายกับ Adobe เช่น “Adobe Software <soft@adobes.

Hackers are exploiting Waco explosion news to spread malware

กลุ่มแฮกเกอร์ได้มีการใช้ข่าวการระเบิดของโรงงานทำปุ๋ยในรัฐเท็กซัสในการแพร่กระจายมัลแวร์หลังจากเหตุการณ์เพิ่งเกิดขึ้นได้เพียงแค่ 1 วันเท่านั้น โดยแฮกเกอร์จะส่งอีเมลที่มีการใช้หัวข้ออีเมลว่า "CAUGHT ON CAMERA: Fertilizer Plant Explosion Near Waco, Texas"(ภาพการระเบิดของโรงงานทำปุ๋ยใกล้เมือง Waco ในรัฐเท็กซัสที่ถูกจับภาพได้) ซึ่งในอีเมลนั้นจะแนบลิงค์มาด้วย ถ้าเหยื่อกดคลิกที่ลิงค์ก็จะเป็นการ redirect ไปยังเว็บเพจที่มีการฝังคลิป Youtube เอาไว้และในหน้าเว็บเพจนั้นแฮกเกอร์จะฝัง iFrame ครอบหน้าเว็บเพจนั้นไว้อีกทีหนึ่ง ซึ่ง iFrame ตัวนี้จะทำการ exploit เครื่องของเหยื่อโดยการใช้ Redkit exploit kit หลังจาก exploit เครื่องของเหยื่อแล้วมันจะสั่งให้ดาวโหลดโทรจันที่มีชื่อว่า Troj/ExpJS-II และ Troj/Iframe-JG มาลงที่เครื่องของเหยื่อเพื่อเปิด backdoor เอาไว้ เราสามารถป้องกันการโจมตีแบบนี้ได้ง่ายๆโดยการ เข้าไปอ่านข่าวตามเว็บไซด์ข่าวที่น่าเชื่อถือโดยตรงแทนที่จะคลิกลิงค์ในอีเมลที่ส่งมาเพื่ออ่านข่าว

ที่มา: nakedsecurity.

Hackers are exploiting Waco explosion news to spread malware

กลุ่มแฮกเกอร์ได้มีการใช้ข่าวการระเบิดของโรงงานทำปุ๋ยในรัฐเท็กซัสในการแพร่กระจายมัลแวร์หลังจากเหตุการณ์เพิ่งเกิดขึ้นได้เพียงแค่ 1 วันเท่านั้น โดยแฮกเกอร์จะส่งอีเมลที่มีการใช้หัวข้ออีเมลว่า "CAUGHT ON CAMERA: Fertilizer Plant Explosion Near Waco, Texas"(ภาพการระเบิดของโรงงานทำปุ๋ยใกล้เมือง Waco ในรัฐเท็กซัสที่ถูกจับภาพได้) ซึ่งในอีเมลนั้นจะแนบลิงค์มาด้วย ถ้าเหยื่อกดคลิกที่ลิงค์ก็จะเป็นการ redirect ไปยังเว็บเพจที่มีการฝังคลิป Youtube เอาไว้และในหน้าเว็บเพจนั้นแฮกเกอร์จะฝัง iFrame ครอบหน้าเว็บเพจนั้นไว้อีกทีหนึ่ง ซึ่ง iFrame ตัวนี้จะทำการ exploit เครื่องของเหยื่อโดยการใช้ Redkit exploit kit หลังจาก exploit เครื่องของเหยื่อแล้วมันจะสั่งให้ดาวโหลดโทรจันที่มีชื่อว่า Troj/ExpJS-II และ Troj/Iframe-JG มาลงที่เครื่องของเหยื่อเพื่อเปิด backdoor เอาไว้ เราสามารถป้องกันการโจมตีแบบนี้ได้ง่ายๆโดยการ เข้าไปอ่านข่าวตามเว็บไซด์ข่าวที่น่าเชื่อถือโดยตรงแทนที่จะคลิกลิงค์ในอีเมลที่ส่งมาเพื่ออ่านข่าว

ที่มา: nakedsecurity.

Backdoor Trojan pushed via versatile Facebook campaign

พบการแพร่กระจายโทรจัน Backdoor ใน Facebook ซึ่งเป็นโทรจันที่เป็น Keylogger แพร่กระจายโดยการใช้ข้อความที่เป็น Scam ในลักษณะล่อลวงเหยื่อให้คลิกลิงค์ที่แนบมา โดยลิงค์ดังกล่าวเป็นหน้าปลอมซึ่งทำเหมือน Youtube และบังคับให้ดาวน์โหลดไฟล์ “Video Embed ActiveX Object” เวอร์ชั่นใหม่เพื่อให้สามารถเล่นไฟล์วีดีโอได้ แต่ทว่าไฟล์ setup.