Filipino hackers wage cyberwar on Chinese Web sites

หลังจากเกิดเหตุการณ์แฮกเว็บไซต์หลายแห่งในประเทศฟิลิปปินส์เมื่อปีที่แล้ว ล่าสุดลามไปถึงประเทศจีนแล้ว เมื่อมีการแฮกเว็บไซต์กว่า 200 เว็บในจีน เพื่อขู่ยึดดินแดน
ตามรายงานข่าวกลุ่มชาวฟิลิปปินส์ที่ก่อเหตุแฮกเว็บไซต์ในจีนเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา มีชื่อเรียกกันว่า "Anonymous Philippines" หรือรู้จักกันในนาม "Pinoys" หลังจากเคยก่อเหตุมาแล้วกับเว็บไซต์ในฟิลิปปินส์เมื่อปีที่แล้ว สาเหตุมาจากความไม่พอใจต่อกรณีพิพาทเหนือเกาะในทะเลจีนใต้ที่มีชื่อว่า "Huangyan" ที่ฟิลิปปินส์และจีนมีปัญหากันมาตั้งแต่ปี 2012
อย่างไรก็ตามรายงานข่าวกล่าวว่า นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่แฮกเกอร์กลุ่มนี้แฮกเว็บไซต์ในจีน หลังจากเมื่อปี 2012 มีการแฮกเว็บไซต์ในจีน เพื่อเป็นการตอบโต้ที่แฮกเกอร์ชาวจีนเคยแฮกเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยในฟิลิปปินส์

ที่มา : The Washington Post

Yahoo fixes Critical Remote Command Execution vulnerability

ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยและนักทดสอบระบบที่ชื่อ Ebrahim Hegazy ได้พบช่องโหว่ร้ายแรงในเว็บไซต์ของ Yahoo ที่ช่วยให้ผู้โจมตีสามารถรันคำสั่งจากระยะไกลบนเซิร์ฟเวอร์ได้ ซึ่งช่องโหว่ดังกล่าวอยู่ใน subdomin เว็บไซต์ Yahoo ของจีน อย่างเช่น http://tw.

Yahoo fixes Critical Remote Command Execution vulnerability

ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยและนักทดสอบระบบที่ชื่อ Ebrahim Hegazy ได้พบช่องโหว่ร้ายแรงในเว็บไซต์ของ Yahoo ที่ช่วยให้ผู้โจมตีสามารถรันคำสั่งจากระยะไกลบนเซิร์ฟเวอร์ได้ ซึ่งช่องโหว่ดังกล่าวอยู่ใน subdomin เว็บไซต์ Yahoo ของจีน อย่างเช่น http://tw.

Chinese Hackers spied on European Diplomats during recent G20 meetings

บริษัทรักษาความปลอดภัย FireEye ได้ออกรายงานฉบับใหม่ซึ่งเป็นรายละเอียดเกี่ยวกับการจารกรรมไซเบอร์ของกลุ่มแฮกเกอร์ชาวจีน โดยการโจมตีมุ่งไปที่กระทรวงต่างประเทศในยุโรป (European Ministries of Foreign Affairs (MFA)) ในระหว่างการประชุม G20 ที่ผ่านมา นักวิจัย Nart Villeneuve ของบริษัท Fire Eye กล่าวว่า แฮกเกอร์ได้เข้าไปในระบบเน็ตเวิร์คของกระทรวงต่างประเทศซึ่งมีกระทรวงต่างประเทศ 5 ประเทศที่ถูกโจมตี โดยที่รูปแบบการโจมตีของแฮกเกอร์จะเป็นการส่ง อีเมล ที่มีมัลแวร์แนบไปกับอีเมลที่ส่งไปด้วย โดยส่งให้กับเจ้าหน้าที่กระทรวง เพื่อหวังที่จะเข้าไปขโมยข้อมูลสำคัญต่างๆ โดยที่การโจรกรรมข้อมูลในครั้งนี้มีชื่อว่า “Operation Ke3chang” และหากเหยื่อทำการดาวน์โหลดและเปิดไฟล์มัลแวร์ที่ปลอมตัวเองเป็นไฟล์รายละเอียดการแทรกแซงในซีเรีย (US_military_options_in_Syria.