LINE ตอบคำถามการดักฟังข้อมูล ระบุ "การดักฟังเครือข่ายโทรศัพท์มือถือแทบเป็นไปไม่ได้"

ในช่วงที่มีข่าวปอท. กำลังไปขอข้อมูลจาก LINE แต่ทาง LINE ระบุว่ายังไม่ได้ให้ความร่วมมือใดๆ ทาง Blognone ได้ส่งอีเมล์ไปสอบถามทาง LINE ทั้งเรื่องการขอข้อมูล และประเด็นการเข้ารหัสที่ LINE กลับไม่ยอมเข้ารหัสเมื่อส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย 3G

LINE ยืนยันว่าไม่มีการส่งมอบข้อมูลใดๆ ให้รัฐบาล ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลแชต หรือข้อมูลอื่นๆ อย่างไรก็ดี กระบวนการร่วมมือกับหน่วยงานรักษากฎหมายนั้นเป็นไปตามกฎหมายในแต่ละประเทศ ที่ LINE ดำเนินการ
ในประเด็นการเข้ารหัส LINE ระบุว่าเครือข่ายของบริษัทโทรคมนาคมนั้นแทบจะเข้าไปดักฟังไม่ได้ และเมื่อใช้เครือข่ายอื่นๆ เช่น Wi-Fi นั้น LINE ก็ใช้ HTTPS เสมอ นอกจากนี้กระบวนการยืนยันตัวตนนั้นจะเข้ารหัสเสมอทุกเครือข่ายเช่นกัน

ที่มา : blognone

LINE ตอบคำถามการดักฟังข้อมูล ระบุ "การดักฟังเครือข่ายโทรศัพท์มือถือแทบเป็นไปไม่ได้"

ในช่วงที่มีข่าวปอท. กำลังไปขอข้อมูลจาก LINE แต่ทาง LINE ระบุว่ายังไม่ได้ให้ความร่วมมือใดๆ ทาง Blognone ได้ส่งอีเมล์ไปสอบถามทาง LINE ทั้งเรื่องการขอข้อมูล และประเด็นการเข้ารหัสที่ LINE กลับไม่ยอมเข้ารหัสเมื่อส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย 3G

LINE ยืนยันว่าไม่มีการส่งมอบข้อมูลใดๆ ให้รัฐบาล ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลแชต หรือข้อมูลอื่นๆ อย่างไรก็ดี กระบวนการร่วมมือกับหน่วยงานรักษากฎหมายนั้นเป็นไปตามกฎหมายในแต่ละประเทศ ที่ LINE ดำเนินการ
ในประเด็นการเข้ารหัส LINE ระบุว่าเครือข่ายของบริษัทโทรคมนาคมนั้นแทบจะเข้าไปดักฟังไม่ได้ และเมื่อใช้เครือข่ายอื่นๆ เช่น Wi-Fi นั้น LINE ก็ใช้ HTTPS เสมอ นอกจากนี้กระบวนการยืนยันตัวตนนั้นจะเข้ารหัสเสมอทุกเครือข่ายเช่นกัน

ที่มา : blognone

NASA website sub domains defaced, “we do not want war, we want peace”

กลุ่มแฮกเกอร์ชื่อว่า “BMPoc” ทำการแฮกเปลี่ยนแปลงหน้าเว็บที่เป็น sub domains ของ National Aeronautics and Space Administration (NASA) และโพสข้อความไว้ในหน้าเพจของเว็บดังนี้

“Stop spy on us.

Cota ระบบชาร์จไร้สายระยะไกล

สตาร์ตอัพที่ชื่อว่า Ossia Inc. เปิดตัวระบบชาร์จไร้สายที่ชื่อว่า “Cota” โดยมีจุดเด่นคือ จะสามารถชาร์จได้ไกลถึงเกือบสิบเมตร (30 ฟุต) ผ่านคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแบบเดียวกับเครือข่ายไร้สายทุกวันนี้

Cota สามารถส่งพลังงานได้มากกว่า 30 เมตรในห้องทดลองและกำลังอยู่ระหว่างการขอใบรับรองจาก FCC ที่มีอำนาจอนุมัติให้มีการใช้อุปกรณ์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ตัวเครื่องของ Cota จะมีราคาสูงกว่า 100 ดอลลาร์ และขนาดประมาณเครื่องทาวเวอร์ขนาดใหญ่ของพีซี และสามารถส่งพลังงานทะลุกำแพงได้ด้วย

ที่มา : blognone

Taiwan bids to bolster security with free malware database

ศูนย์ให้บริการการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงของไต้หวัน ได้ออกมาประกาศว่า พวกเขาเป็นที่แรกที่ปล่อยฐานข้อมูลของมัลแวร์ที่ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยธุรกิจต่างๆ, สถาบันต่างๆ และ นักวิจัยสามารถตรวจพบมัลแวร์ได้ดีขึ้นและสามารถป้องกันมัลแวร์ได้ดีขึ้น ฐานข้อมูลเหล่านี้ถูกปล่อยให้ดาวน์โหลดฟรี โดยในฐานข้อมูลจะประกอบไปด้วย ตัวอย่างมัลแวร์มากกว่า 2 แสนตัวอย่างและมีการเพิ่มตัวอย่าง 1 พันตัวอย่างในทุกๆ เดือน มีไอพีมากกว่า 6 พันไอพีที่ถูกใช้ในการจับตาเพื่อระบุมัลแวร์ประเภทใหม่ๆ ต้นทางของมัลแวร์และรูปแบบการโจมตีสามารถติดตามและคาดเดาเส้นทางการโจมตีของมัลแวร์ได้ผ่านทางโปรแกรม Google Earth-based UI

ไต้หวันได้ถูกระบุว่าเป็นต้นทางของมัลแวร์เป็นอันดับที่ 17 ของโลก โดยคิดเป็น 2.5 เปอร์เซ็นต์จากต้นทางทั้งหมดทั่วโลก ประเทศไต้หวันได้ถูกกโจมตีเป็นจำนวน 3.4 ล้านครั้งต่อวันโดยการโจมตีส่วนมากมาจากประเทศจีน ทำให้ในปีที่ผ่านมาทางประเทศไต้หวันได้มีการจัดตั้งกลุ่มที่ชื่อ “electronic and internet warfare” ขึ้นเพื่อรับมือการโจมตีที่มีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ

ที่มา : theregister

Taiwan bids to bolster security with free malware database

ศูนย์ให้บริการการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงของไต้หวัน ได้ออกมาประกาศว่า พวกเขาเป็นที่แรกที่ปล่อยฐานข้อมูลของมัลแวร์ที่ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยธุรกิจต่างๆ, สถาบันต่างๆ และ นักวิจัยสามารถตรวจพบมัลแวร์ได้ดีขึ้นและสามารถป้องกันมัลแวร์ได้ดีขึ้น ฐานข้อมูลเหล่านี้ถูกปล่อยให้ดาวน์โหลดฟรี โดยในฐานข้อมูลจะประกอบไปด้วย ตัวอย่างมัลแวร์มากกว่า 2 แสนตัวอย่างและมีการเพิ่มตัวอย่าง 1 พันตัวอย่างในทุกๆ เดือน มีไอพีมากกว่า 6 พันไอพีที่ถูกใช้ในการจับตาเพื่อระบุมัลแวร์ประเภทใหม่ๆ ต้นทางของมัลแวร์และรูปแบบการโจมตีสามารถติดตามและคาดเดาเส้นทางการโจมตีของมัลแวร์ได้ผ่านทางโปรแกรม Google Earth-based UI

ไต้หวันได้ถูกระบุว่าเป็นต้นทางของมัลแวร์เป็นอันดับที่ 17 ของโลก โดยคิดเป็น 2.5 เปอร์เซ็นต์จากต้นทางทั้งหมดทั่วโลก ประเทศไต้หวันได้ถูกกโจมตีเป็นจำนวน 3.4 ล้านครั้งต่อวันโดยการโจมตีส่วนมากมาจากประเทศจีน ทำให้ในปีที่ผ่านมาทางประเทศไต้หวันได้มีการจัดตั้งกลุ่มที่ชื่อ “electronic and internet warfare” ขึ้นเพื่อรับมือการโจมตีที่มีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ

ที่มา : theregister

Fake emails saying US is bombing Syria lead to malware

นักวิจัยจาก Kaspersky Lab และ Symantec พบสแปมเมล์ที่ใช้ประโยชน์จากสถานการณ์ทางการเมืองปัจจุบันในประเทศซีเรีย ในอีเมล์แรกประกอบด้วย "Dear sir, please find the attachment" ซึ่งกระตุ้นให้ผู้ใช้เปิดไฟล์ที่แนบมาชื่อว่า “Syria.

NSA can access your data on Smartphones including iPhone, BlackBerry and Android devices

องค์กรหน่วยความมั่นคงของสหรัฐ National Security Agency (NSA) สามารถติดตามและแฮกมาตรการการป้องกันของ Smartphone ได้ทุกระบบ ไม่ว่าจะเป็น iPhone, BlackBerry หรือ Android โดยหน่วยงาน NSA จะมีการแบ่งทีมงานสำหรับรับผิดชอบในแต่ละระบบปฏิบัติการของมือถือ ซึ่งสามารถดักจับข้อมูลสำคัญต่างๆ ได้อย่างครบถ้วนไม่ว่าจะเป็นรายชื่อผู้ติดต่อ,รายการโทรเข้า-ออก,ข้อมูลข้อความ SMS,บันทึกข้อความ และแม้แต่ข้อมูลการใช้งาน หรือ สถานที่จากการระบุตำแหน่ง โดยทีมงานเหล่านี้มีความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลได้ โดยการหลบเลี่ยงหรือ แฮกผ่านขั้นตอนการรักษาความปลอดภัยของแต่ละระบบได้

ที่มา : thehackernews

Replacing passwords and PINs with your heartbeat

ทีม Startup ของแคนาดาที่ชื่อ Bionym ได้นำเสนออุปกรณ์ที่ชื่อว่า Nymi โดยอุปกรณ์ตัวนี้จะอยู่ในรูปร่างของสายรัดข้อมือหรือกำไลข้อมือที่ฝังระบบ ECG (electrocardiogram) เซนเซอร์ ซึ่งเป็นเซนเซอร์ที่ใช้ในการอ่าน รูปแบบจังหวะการเต้นหัวใจของผู้สวมใส่ เพื่อใช้ในการปลดล็อคระบบอุปกรณ์อิเล็คโทรนิกส์ Karl Martin ซึ่งเป็น CEO ของทีมนี้ได้กล่าวว่า เรารู้มาตั้งแต่ 40 ปีก่อนแล้วว่า รูปแบบจังหวะการเต้นหัวใจของแต่ละคนจะมีลักษณะเฉพาะตัว และ การวิจัยย้อนหลังไปประมาณ 10 ปีได้สามารถคิดค้นอัลกอรึทึมในการจับรูปแบบจังหวะการเต้นหัวใจที่เที่ยงตรงและเชื่อถือได้ หลักการทำงานของ Nymi คือ ผู้ใช้ต้องใส่ Nymi แล้วเปิดเครื่อง หลังจากนั้นวางนิ้วลงบนส่วนบนสุดของเซนเซอร์ในขณะที่ข้อมือแตะส่วนล่างของเซนเซอร์ รอซักพักเครื่องก็จะสั่นและไฟ LED ก็จะสว่างขึ้น และตอนนี้ Nymi จะรู้แล้วว่ารูปแบบจังหวะการเต้นหัวใจแบบนี้คือผู้ใช้ และ ผู้ใช้จะอยู่ในสถานะ authenticated จนกว่าจะถอด Nymi ออก Nymi ถูกออกแบบมาโดยต้องใช้ระบบ 3-factor security ในการควบคุมโดยประกอบไปด้วย ตัวอุปกรณ์ Nymi, รูปแบบจังหวะการเต้นหัวใจของผู้ใช้ และ Authorized Authentication Device(ADD): อุปกรณ์ยืนยันการ Authentication ซึ่งอาจจะเป็นสมาร์ทโฟนหรือ อุปกรณ์ที่ลงแอพพลิเคชั้นของทางทีม Bionym ไว้ ตอนนี้ยังไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับระบบรักษาความปลอดภัยที่ Nymi ใช้ แต่ Dan Goodin IT Security Editor ของบริษัท Ars Technica ได้กล่าวว่าระบบ elliptic curve cryptography ซึ่งเป็นอัลกอรึทึมที่ใช้ในการเข้ารหัสสัญญาณที่ใช้ในการยืนยันความถูกต้องในการส่งข้อมูลระหว่างเซนเซอร์กับอุปกรณ์ ยังไม่สามารถดักจับเพื่อขโมยหรือดูข้อมูลได้ และรูปแบบการเข้ารหัสที่ใช้ยังไม่สามารถถอดรหัสได้

ที่มา : net-security

Replacing passwords and PINs with your heartbeat

ทีม Startup ของแคนาดาที่ชื่อ Bionym ได้นำเสนออุปกรณ์ที่ชื่อว่า Nymi โดยอุปกรณ์ตัวนี้จะอยู่ในรูปร่างของสายรัดข้อมือหรือกำไลข้อมือที่ฝังระบบ ECG (electrocardiogram) เซนเซอร์ ซึ่งเป็นเซนเซอร์ที่ใช้ในการอ่าน รูปแบบจังหวะการเต้นหัวใจของผู้สวมใส่ เพื่อใช้ในการปลดล็อคระบบอุปกรณ์อิเล็คโทรนิกส์ Karl Martin ซึ่งเป็น CEO ของทีมนี้ได้กล่าวว่า เรารู้มาตั้งแต่ 40 ปีก่อนแล้วว่า รูปแบบจังหวะการเต้นหัวใจของแต่ละคนจะมีลักษณะเฉพาะตัว และ การวิจัยย้อนหลังไปประมาณ 10 ปีได้สามารถคิดค้นอัลกอรึทึมในการจับรูปแบบจังหวะการเต้นหัวใจที่เที่ยงตรงและเชื่อถือได้ หลักการทำงานของ Nymi คือ ผู้ใช้ต้องใส่ Nymi แล้วเปิดเครื่อง หลังจากนั้นวางนิ้วลงบนส่วนบนสุดของเซนเซอร์ในขณะที่ข้อมือแตะส่วนล่างของเซนเซอร์ รอซักพักเครื่องก็จะสั่นและไฟ LED ก็จะสว่างขึ้น และตอนนี้ Nymi จะรู้แล้วว่ารูปแบบจังหวะการเต้นหัวใจแบบนี้คือผู้ใช้ และ ผู้ใช้จะอยู่ในสถานะ authenticated จนกว่าจะถอด Nymi ออก Nymi ถูกออกแบบมาโดยต้องใช้ระบบ 3-factor security ในการควบคุมโดยประกอบไปด้วย ตัวอุปกรณ์ Nymi, รูปแบบจังหวะการเต้นหัวใจของผู้ใช้ และ Authorized Authentication Device(ADD): อุปกรณ์ยืนยันการ Authentication ซึ่งอาจจะเป็นสมาร์ทโฟนหรือ อุปกรณ์ที่ลงแอพพลิเคชั้นของทางทีม Bionym ไว้ ตอนนี้ยังไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับระบบรักษาความปลอดภัยที่ Nymi ใช้ แต่ Dan Goodin IT Security Editor ของบริษัท Ars Technica ได้กล่าวว่าระบบ elliptic curve cryptography ซึ่งเป็นอัลกอรึทึมที่ใช้ในการเข้ารหัสสัญญาณที่ใช้ในการยืนยันความถูกต้องในการส่งข้อมูลระหว่างเซนเซอร์กับอุปกรณ์ ยังไม่สามารถดักจับเพื่อขโมยหรือดูข้อมูลได้ และรูปแบบการเข้ารหัสที่ใช้ยังไม่สามารถถอดรหัสได้

ที่มา : net-security